กิจกรรมที่ 8
1 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 9 ตุลาคม พ.ศ.2546 และมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
เป็นต้นไป
2 พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี
3 เพราะมีการปฏิรูประบบราชการ
เพื่อให้การปฏิบัติงานของส่วนราชการตอบสนองต่อการพัฒนาประเทศและให้บริการแก่ประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
ซึ่งการบริหารราชการและการปฏิบัติหน้าที่ของส่วนราชการนี้ต้องใช้วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีเพื่อให้การบริหารราชการแผ่นดินเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน
เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ มีประสิทธิภาพ เกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ
ลดขั้นตอนการปฏิบัติงานที่เกินความจำเป็น
และประชาชนได้รับการอำนวยความสะดวกและได้รับการตอบสนองความต้องการ
รวมทั้งมีการประเมินผลการปฏิบัติราชการอย่างสม่ำเสมอและเนื่องจากมาตรา 3/1 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
(ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 บัญญัติให้การกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการปฏิบัติราชการและการสั่งการให้ส่วนราชการและข้าราชการปฏิบัติราชการเพื่อให้เกิดการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีกระทำโดยตราเป็นพระราชกฤษฎีกา
จึงจำเป็นต้องตราพระราชกฤษฎีกานี้
4 มี
9 หมวด 53 มาตรา ประกอบด้วย
หมวด
1 การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
หมวด 2 การบริหารราชการเพื่อให้เกิดประโยชน์สุขของประชาชน หมวด 3 การบริหารราชการเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ
หมวด 2 การบริหารราชการเพื่อให้เกิดประโยชน์สุขของประชาชน หมวด 3 การบริหารราชการเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ
หมวด
4 การบริหารราชการอย่างมีประสิทธิภาพ
และเกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ
หมวด
5 การลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน
หมวด
6 การปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการ
หมวด
7 การอำนวยความสะดวกและการตอบสนองความต้องการของประชาชน
หมวด
8 การประเมินผลการปฏิบัติราชการ
หมวด
9 บทเบ็ดเตล็ด
5 วัตถุประสงค์ของพระราชกฤษฎีกาฉบับนี้เพื่อให้
(1)
เกิดผลประโยชน์สุขของประชาชน
(2)
เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ
(3)
มีประสิทธิภาพและเกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ
(4)
ไม่มีขั้นตอนในการปฏิบัติงานเกินความจำเป็น
(5)
มีการปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการให้ทันต่อสถานการณ์
(6 )
ประชาชนได้รับการอำนวยความสะดวกและได้รับการตอบสนองความต้องการ
(7 )
มีการประเมินผลการปฏิบัติราชการอย่างสม่ำเสมอ
6 สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีสำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรีสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
และสำนักงบประมาณ
7 ภายในกำหนดเวลา 90 วันนับตั้งแต่วันที่คณะรัฐมนตรีแถลงนโยบายต่อรัฐสภา
8 แผน 4 ปี
9 สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
สำนักงบประมาณ และคณะผู้ประเมินอิสระ
10 ผลสัมฤทธิ์ของภารกิจ
คุณภาพการให้บริการ ความพึงพอใจของประชาชนผู้รับบริการ ความคุ้มค่าในภารกิจ
ตามหลักเกณฑ์วิธีการ และระยะเวลาที่ ก.พ.ร.กำหนด
โดยให้ส่วนราชการประเมินโดยคำนึงถึงผลการปฏิบัติงานเฉพาะตัวของข้าราชการผู้นั้นในตำแหน่งที่ปฏิบัติประโยชน์และผลสัมฤทธิ์ที่หน่วยงานที่ข้าราชการผู้นั้นสังกัดได้รับจากการปฏิบัติงานของข้าราชการผู้นั้นเพื่อประโยชน์ในการบริหารงานบุคคล
และส่วนราชการอาจจัดให้มีการประเมินภาพรวมของผู้บังคับบัญชาแต่ละระดับหรือหน่วยงานในส่วนราชการก็ได้
ทั้งนี้
การประเมินดังกล่าวต้องกระทำเป็นความลับและเป็นไปเพื่อประโยชน์แห่งความสามัคคีของข้าราชการ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น